การ ประยุกต์ ใช้ เศรษฐกิจ พอ เพียง กับ ธุรกิจ – การ ประยุกต์ ใช้ กับ เศรษฐกิจ พอ เพียง ใน ภาค ธุรกิจ

  1. เศรษฐกิจพอเพียงกับธุรกิจ | บทความ | GlobalLinker Thailand
  2. การทำธุรกิจด้วยหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ผลิตให้มาก – ทำในสิ่งที่รักให้มาก เพื่อให้การทำงานเป็นเหมือนงานอดิเรก 2. ใช้แต่พอดี – มีความสุขจากสิ่งที่มี สิ่งที่เป็น 3.

เศรษฐกิจพอเพียงกับธุรกิจ | บทความ | GlobalLinker Thailand

ไม่ให้ความสําคัญกับการสร้างกําไรสูงสุด เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผู้ถือหุ้นแต่เพียงอย่างเดียว แต่คํานึงถึงผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหมดของธุรกิจ 3. การดําเนินธุรกิจที่ตนเองมีความรู้จริง ไม่แข่งขันในตลาดที่ตนเองไม่มีความชํานาญ 4. มีเหตุผลในการขยายตลาด แบบค่อยเป็นค่อยไป รู้จักวางแผนอย่างรอบคอบ 5. มีความซื่อสัตย์สุจริตในการประกอบการ ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้บริโภคและผู้ใช้แรงงาน 6. การให้บริการลูกค้าอย่างจริงใจและโปร่งใส อย่างสม่ําเสมอ 7.

5 ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รู้จักใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ สามารถเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดความยั่งยืนสูงสุด 2. พิจารณาความรู้คู่คุณธรรม มีการศึกษาเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง (ทั้งทฤษฎีและการปฏิบัติจริง) ในวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวกับการดํารงชีวิต โดยใช้สติปัญญาในการตัดสินใจ ต่างๆ อย่างรอบรู้ รอบคอบ และมีเหตุผลที่จะนําความรู้ต่างๆ มาปรับใช้อย่างมีขั้นตอนและระมัดระวัง ในการปฏิบัติ มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความเพียรความอดทน และใช้สติปัญญา อย่างชาญฉลาดในการดําเนินชีวิตบนทางสายกลาง คุณธรรมที่ทุกคนควรจะศึกษาและนํามาปฏิบัติ มีดังนี้ 1. การรักษาความสัตย์ ความจริงใจต่อตนเองที่ประพฤติปฏิบัติต่อสิ่งที่มีประโยชน์และเป็นธรรม 2. การรู้จักข่มใจตนเอง ฝึกใจตนเองให้ประพฤติปฏิบัติอยู่ในความดีนั้น 3. ความอดทน อดกลั้น และอดออมที่จะไม่ประพฤติตนไปในทางที่ไม่ดี 4. การรู้จักละวางความชั่ว ไม่ทุจริตและรู้จักเสียสละประโยชน์ส่วนตนเพื่อคนอื่น หลักเกณฑ์ในการประกอบธุรกิจแบบเศรษฐกิจพอเพียง มีดังนี้ 1. การบริหารความเสี่ยงทางการตลาดที่ชัดเจน โดยมีความรู้จริงในการทําตลาด และมีตลาดที่ หลากหลายเพื่อลดความเสี่ยง 2.

ความสามารถในการบริหารงาน โดยต้องสอดคล้องกับโลกภายนอกโดยไม่ขยายตัวเกินกว่า กําลังที่มีอยู่ หรือต้องมีประสิทธิผลในทางการตลาดหรือการตามทันกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ซึ่งต้องมีสติและความรู้ 2. ต้องแสวงหาความรู้กับสร้างความเข้มแข็งหรือเพิ่มความขยันขันแข็งในการทํางาน เคยมีการติดตามเทคนิควิทยาการ แล้วรู้จักเลือกเช้เทคโนโลยีและเอามาประยุกต์ใช้เพื่อประโยชน์ใน 3.

การปฎิบัติต่อผู้เกี่ยวข้องอย่างเป็นธรรม ผู้ที่เกี่ยวข้องประกอบด้วยเจ้าของธุรกิจ หุ้นส่วน ฐานะ ผู้บริโภค ทุกคนที่เกี่ยวข้องควรได้รับความเป็นธรรมจากการดําเนินธุรกิจ 2. มีการกำหนดนโยบายที่มีความชัดเจน และดําเนินการตามนโยบายที่กําหนดไว้ ซึ่งสะท้อนให้ จะประชาชนในฐานะผู้บริโภคถึงประสิทธิภาพในการดําเนินงานของบริษัท 3. ดําเนินงานอย่างโปร่งใส ควรเปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้องสม่ําเสมอ ทันเวลา และมีระบบ ต้อมลได้ ซึ่งจะส่งผลให้ผู้ถือหุ้น ลูกค้า คู่ค้า สถาบันการเงิน และนักลงทุนมีความเชื่อถือมากขึ้น สามารถหาพันธมิตรธุรกิจได้ง่าย ส่งผลต่อการเพิ่มศักยภาพการแข่งขันทางธุรกิจได้ 3. ดําเนินธุรกิจแบบมีวิสัยทัศน์ โดยการคิดแบบกว้างไกล มองการณ์ไกล จะช่วยให้ธุรกิจเติบโต และ ขยายตัวไปอย่างมีทิศทาง มีเป้าหมาย ทําให้ธุรกิจดําเนินงานไปได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน การประยุกต์ใช้แศรษฐกิจพอเพียงในภาคธุรกิจ หลักสําคัญในการนําไปประยุกต์ใช้กับเศรษฐกิจพอเพียง ก็คือ การครองตนให้อยู่บนทางสายกลาง คือ พอประมาณ มีเหตุผล สร้างภูมิคุ้มกันและมีบทบาทในการช่วยเหลือกันภายในประเทศ การบริหารจัดการด้วยความพอเพียงนั้น จะต้องเริ่มที่เป้าหมาย ได้แก่ 1.

ศ.

การทำธุรกิจด้วยหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

สมัครสมาชิกนิตยสารเทคโนโลยีชาวบ้านรายปี (24 ฉบับ) ลดราคาทันที 15% พร้อมแถมฟรีอีก1เดือน สมัครได้ตั้งแต่วันนี้ – 31 ธ. 63 เท่านั้น! คลิกดูรายละเอียดที่นี่

  1. การทำธุรกิจด้วยหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
  2. รวมภาพฤดูฝนสำหรับระบายสี – Ben Publishing
  3. เครื่องแก้วในห้องปฏิบัติการ - Active Learning : Learning for All
  4. การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
  5. อาคารออล ซีซั่นส์ เพลส (All Seasons Place) พื้นที่สำนักงานให้เช่าทำเลเพลินจิต

ต้องรู้จักซึ่งตนเอง โดยรู้จักเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อนํามา กรทางานดีขึ้น ทํางานได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากกว่าเดิม 2. ต้องรุ้จักประมาณการในการบริโภค โดยจะต้องมีสติในการใช้จ่าย การลงทุนกับการบริโภคให้เกิด ความสมดุลให้ได้ประโยชน์คุ้มค่ากับต้นทุนต่างๆ ที่ต้องเสียไป 3. การดำเนินชีวิตหรือการบริหารงงาน จะต้องมีสติรอบคอบ ไม่ประมาท โดยต้องนึกถึง ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นและวางระบบรองรับเพื่อความปลอดภัย โดยต้องจัดให้มีแผนสํารองไว้เพื่อความ ปลอดภัย รักษาสภาพคล่อง คือ ไม่ลงทุนมากเกินไป 4. ต้องมีการบริหารจัดการที่ดี ตั้งแต่การต้องมีความโปร่งใส โดยมีธรรมาภิบาล มีความซื่อสัตย์สุจริต มีการพัฒนา สร้างประสิทธิภาพเพิ่มความแข็งแกร่ง เพื่อให้เป็นภูมิคุ้มกันตอปัญหาที่มากระทบ แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม

Tue, 16 Nov 2021 18:45:26 +0000
หว-แปลง-สวาน-เปน-เลอย-จ-ก-ซอ