อาหาร และ การ ดํา รง ชีวิต

สารอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกาย ได้แก่ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน 2.

อาหารกับการดำรงชีวิต - วิทยาศาสตร์ครูแอน

). (2556). ชีววิทยา1(มัธยมศึกษาตอนต้น). กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์. ณัฐพงศ์ ก้องคุณวัฒน์. (2559). สรุปวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่ 1-3 สำหรับเตรียมสอบเข้า. กรุงเทพฯ: กรีนไลฟ์ พริ้นติ้งเฮาส์. สำนักงานส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค.

คาร์โบไฮเดรต วิดีโอ YouTube

สาระสำคัญ - อาหารกับการดำรงชีวิต

เป็นแหล่งพลังงานของร่างกาย 2. ไขมันที่สะสมไว้ใต้ผิวหนังเป็นฉนวนป้องกันความร้อนไม่ให้สูญเสียออกจากร่างกาย 3. เป็นส่วนประกอบของเซลล์ประสาทเยื่อหุ้มเซลล์ ผลของการขาดไขมัน 1. ผิวหนังแห้งแตกเป็นแผล และเป็นโรคผิวหนังได้ง่าย 2. ทำให้อาหารไม่อยู่ท้อง คือ หิวง่าย

* แร่ธาตุ * ควบคุมการทำงานของอวัยวะต่างๆ 3.

วีดีโอสำหรับการเรียนรู้ - อาหารกับการดำรงชีวิต

อาหารมีความจำเป็นสำหรับการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต เป็นวัตถุดิบสำหรับการสร้างเซลล์และเนื้อเยื่อที่เจริญเติบโต และซ่อมแซมเนื้อเยื่อที่สึกหรอ (ในแต่ละวันเซลล์นับล้านเซลล์จะตายลง เช่น เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์ผิวหนัง บางครั้งอาจเกิดบาดแผล ในกรณีเหล่านี้ร่างกายจำเป็นต้องสร้างเซลล์ใหม่มาทดแทน) 2. เป็นแหล่งของพลังงาน เซลล์ต้องการพลังงานสำหรับปฏิกิริยาทางเคมีต่างๆภายในเซลล์ (โดยเซลล์จะสลายสารอาหารที่เป็นส่วนประกอบทางเคมีของอาหาร เพื่อให้ได้มาซึ่งพลังงานสำหรับปฏิกิริยาทางเคมีต่างๆ สัตว์ต้องการพลังงานเพื่อกระบวนการต่างๆ ตัวอย่างเช่น การเคลื่อนที่ การเต้นของหัวใจ การส่งกระแสประสาท สัตว์บางชนิดใช้พลังงานเพื่อรักษาอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่)

หน่วยที่ 1 เรื่องอาหารกับการดำรงชีวิต - วิทยาศาสตร์ม.2

อาหาร คือ สิ่งที่รับประทานได้ไม่เป็นพิษและก่อให้เกิดประโยชน์ต่อร่างกาย ช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโตแข็งแรงต้านทานโรค สารอาหาร คือ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบของอาหารเป็นสิ่งที่กินเข้าไปแล้วมีประโยชน์ต่อร่างกายใช้เผาผลาญเป็นพลังงาน ใช้ในการเจริญเติบโตและซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอและใช้ในกิจกรรมต่างๆของสิ่งมีชีวิต มี 6 ชนิด คือ คาร์โบโฮเดรต โปรตีน ไขมัน แร่ธาตุ และน้ำ สารอาหารทั้ง 6 ชนิด 1. คาร์โบไฮเดรต ได้แก่ อาหารประเภทแป้งและน้ำตาล ซึ่งส่วนใหญ่ได้มาจากพืช เช่น ข้าว เผือก มัน และอ้อย 2. โปรตีน ได้แก่ เนื้อ ไข่ นม และถั่ว 3. ไขมัน ได้แก่ ไขมันและน้ำมัน แหล่งที่มาทั้งจากสัตว์และพืช 4. วิตามิน ได้แก่ ผัก และผลไม้ 5. แร่ธาตุ ได้แก่ ผัก และผลไม้ 6. น้ำ ได้แก่ น้ำเปล่า และน้ำแร่ สารอาหารแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ สารอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกายและสารอาหารที่ไม่ให้พลังงานแก่ร่างกาย - สารอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกาย คือ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน - สารอาหารที่ไม่ให้พลังงานแก่ร่างกาย คือ วิตามิน แร่ธาตุ และน้ำ - สารอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกาย 1. คาร์โบไฮเดรต - พบในแป้งและน้ำตาล - เมื่อย่อยแล้วได้โมเลกุลที่เล็กที่สุด คือ กลูโคส - ให้พลังงาน 4 kcal/g - ถ้าร่างกายได้รับในปริมาณมากคาร์โบไฮเดรตจะเปลี่ยนเป็นไขมันและสะสมไว้เป็นแหล่งพลังงานซึ่งสะสมไว้ที่กล้ามเนื้อและตับทั้งแป้งและไกลโคเจนจะถูกเปลี่ยนเป็นกลูโคสเพื่อใช้เผาผลาญพลังงานในยามที่เราต้องการ - ปริมาณคาร์โบไฮเดรตที่ร่างกายควรได้รับขึ้นอยู่กับการใช้พลังงานของแต่ละบุคคล กล่าวคือพลังงาน 50-60% ได้มาจากคาร์โบไฮเดรต ประโยชน์ของคาร์โบไฮเดรต 1.

  1. เครื่อง วัด ความ ขุ่น turbidity météo saint
  2. แปลง ไฟล์ avi เป็น mp4 android mp3
  3. ปลัดขิก ไม้ ขนุน หลวง พ่อ นนท์
  4. น้ำยา ล้าง รถ แบบ ไม่ ต้อง ถู
  5. ท่อ น้ํา ทิ้ง รั่ว ซึม
  6. โจ๊กเกอร์ที่ทำไม่ได้คนไหนรวยที่สุด?
  7. ตารางหลัก การจูน Remap เบื้องต้น ว่ามีอะไรบ้าง Diesel ดีเซล - YouTube
  8. ซ่อม รอย บุบ รถยนต์ ราคา
  9. มา ร์ ไม ท์ ประโยชน์
  10. อาหารกับการดำรงชีวิต - วิทยาศาสตร์ครูแอน

10-อาหารกับการดำรงชีวิต - วิทยาศาสตร์ ม.2 (หลักสูตร 51)

ให้พลังงานแก่ร่างกาย 2. ช่วยทำให้ไขมันเผาผลาญได้สมบูรณ์ 3. เก็บสะสมไว้ในร่างกาย เพื่อนำไปใช้เวลาขาดแคลน ผลของการขาดคาร์โบไฮเดรต จะทำให้รู้สึกอ่อนเพลีย ตาลาย 2. โปรตีน - พบในกลุ่ม เนื้อสัตว์ นม ไข่ ถั่ว - เมื่อย่อยแล้วได้กรดอะมิโน - ให้พลังงาน 4 kcal/g - ร่างกายเปลี่ยนโปรตีนเป็นคาร์โบไฮเดรตและไขมัน - กรดอะมิโนมีอยู่ 8 ชนิดที่ร่างกายสังเคราะห์ขึ้นเองไม่ได้ และจำเป็นต้องได้รับจากอาหารเรียกว่า กรดอะมิโนจำเป็น ปริมาณของโปรตีนที่ร่างกายควรได้รับ เด็ก ปริมาณ 2 กรัม ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ผู้ใหญ่ ปริมาณ 1 กรัม ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ประโยชน์ของโปรตีน 1. ทำให้ร่างกายเจริญเติบโต ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ 2. เป็นองค์ประกอบของสาระสำคัญต่างๆในการสร้างเอนไซม์ ฮอร์โมนและสารภูมิคุ้มกัน ผลของการขาดโปรตีน เด็ก ถ้าหากขาดโปรตีนอย่างมากจะทำให้เกิดโรคคะวาซิออร์กอร์(kwashiokor) มีอาการอ่อนเพลีย บวม ตับโต ผู้ใหญ่ ซูบผอม ไม่มีเรี่ยวแรง ฟื้นจากโรคได้ช้า 3. ไขมัน - ไขมันมี 2 ประเภทคือ ไขมันธรรมดา ได้แก่ ไขมันสัตว์และน้ำมันพืช และไขมันพิเศษ เช่น ไข่แดง - เมื่อย่อยแล้วได้กรดไขมันกับกลีเซอรอล - ให้พลังงาน 9 kcal/g - ช่วยละลายวิตามิน A D E และ - คอเลสเตอรอล เป็นไขมันพิเศษที่ตับสร้างขึ้นได้เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในร่างกาย แต่ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีคอเลสเตอรอลสูง เนื่องจากจะทำให้ไปสะสมอยู่ตามหลอดเลือด เป็นสาเหตุ- ให้เกิดโรคหลอดเลือดตีบตัน - ถ้ารับประทานไขมันในปริมาณมากจะทำให้เกิดโรคอ้วนและความดันโลหิตสูงได้ ประโยชน์ของไขมัน 1.

วิเคราะห์และอธิบายสารอาหารในอาหาร มีปริมาณพลังงาน และสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัย อาหารกับการดำรงชีวิต อาหาร คือสิ่งที่รับประทานเข้าไปและเกิดประโยชน์ต่อร่างกาย สารอาหาร หมายถึง สารเคมีที่อยู่ในอาหาร เมื่อรับประทานเข้าไปแล้วมีประโยชน์ต่อร่างกาย แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ สารอาหารที่ให้พลังงาน 1. คาร์โบไฮเดรต ส่วนใหญ่ได้จากพืช ถูกเปลี่ยนเป็นกลูโคส สะสมอยู่ในตับและกล้ามเนื้อในรูปของไกลโคเจน คาร์โบไฮเดรต 1 กรัม ให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี การทดสอบแป้งใช้สารละลายไอโอดีน จะเปลี่ยนจากสีน้ำตาลเป็นสีน้ำเงินหรือม่วง การทดสอบน้ำตาลใช้สารละลายเบเนดิกต์ จะเปลี่ยนจากสีฟ้าเป็นตะกอนสีส้ม 2. โปรตีน พบในเนื้อสัตว์ นม และไข่ ถูกย่อยเป็นกรดอะมิโน เป็นส่วนประกอบสำคัญของเยื่อหุ้มเซลล์ กล้ามเนื้อ ฮอร์โมน และเอนไซม์ โปรตีน 1 กรัม ให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี การทดสอบโปรตีนใช้สารไบยูเรตทดสอบ โดยจะเปลี่ยนเป็นสีเป็นสีม่วง 3. ไขมัน เมื่อย่อยแล้วเกิดกรดไขมันกับกลีเซอรอล ช่วยให้ร่างกายอบอุ่น ดูดซึมวิตามินบางชนิด ไขมัน 1 กรัม ให้พลังงาน 9 กิโลแคลอรี การทดสอบไขมัน ดูการโปร่งแสงของกระดาษไข สารอาหารที่ไม่ให้พลังงาน 1. วิตามิน ควบคุมปฏิกิริยาต่างๆในร่างกาย แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ - วิตามินที่ละลายน้ำ ได้แก่ B1, B2, B3, B6, C และ B12 วิตามินที่ละลายในไขมัน ได้แก่ A, D, E, K 2.

เป็นแหล่งพลังงานของร่างกาย 2. ไขมันที่สะสมไว้ใต้ผิวหนังเป็นฉนวนป้องกันความร้อนไม่ให้สูญเสียออกจากร่างกาย 3. เป็นส่วนประกอบของเซลล์ประสาทเยื่อหุ้มเซลล์ ผลของการขาดไขมัน 1. ผิวหนังแห้งแตกเป็นแผล และเป็นโรคผิวหนังได้ง่าย 2. ทำให้อาหารไม่อยู่ท้อง คือ หิวง่าย การรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ 9 ดังนี้ 1) กินอาหารครบ 5 หมู่ 2) กินข้าวเป็นอาหารหลัก 3) กินพืชผักให้มาก 4) กินปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไข่และถั่วเมล็ดแห้งเป็นประจำ 5) ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย 6) กินอาหารที่มีไขมันแต่พอควร 7) หลีกเลี่ยงการกินอาหรรสหวานจัดและเค็มจัด 8) กินอาหารที่สะอาดปราศจากการปนเปื้อน 9) งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์

Tue, 16 Nov 2021 19:05:27 +0000
บน-ตรง-ส-ม-ย